วันจันทร์ที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2557

ศึกษาเนื้อหาหลักการประสานงาน


ศึกษาเนื้อหาหลักการประสานงาน
1. สิ่งสำคัญเบื้องต้นของการประสานงานมีอะไรบ้าง

1. การจัดวางหน่วยงานที่ง่ายและเหมาะสม
2. การมีโครงการและนโยบายอันสอดคล้องกัน
3. การมีวิธีติดต่องานภายในองค์การที่ท าไว้ดี
4. มีเหตุที่ช่วยให้มีการประสานงานโดยสมัครใจ
5. การประสานงานโดยวิธีควบคุม
1. การจัดวางหน่วยงานที่ง่าย (Simplified 
Organization) 
ในการจัดการศูนย์ทรัพยากรการเรียนรู้การจัดวางหน่วยงานควร
ค านึงถึง 
ก. การแบ่งแผนกซึ่งช่วยในการประสานงาน กล่าวคือ การจัดแผนก
ต่าง ๆ บางแผนกมีความจ าเป็นต้องประสานกันควรอยู่ใกล้ชิดกัน
เนื่องจากการติดต่ออย่างไม่เป็นทางการระหว่างผู้ที่ท างานอัน
เกี่ยวเนื่องอย่างใกล้ชิดกันมากขึ้น 
ข. การแบ่งตามหน้าที่ 
ค. การจัดวางรูปงานและระเบียบการที่ชัดแจ้งแก่ทุก ๆ คนที่เกี่ยวข้อง
2. การมีโครงการและนโยบายอันสอดคล้องต้องกัน
(Harmonized Program and Policies) 
3. การมีวิธีติดต่องานภายในองค์การที่ท าไว้ดี (Well – Designed 
Methods of Communication) 
เครื่องมือที่ช่วยในการติดต่อส่งข่าวคราวละเอียด ได้แก่ 
ก. แบบฟอร์มในการปฏิบัติงาน (Working Papers) 
ข. รายงานเป็นหนังสือ (Written report) 
ค. เครื่องมือวิทยาศาสตร์ในการติดต่องาน เช่น ระบบการติดต่อภายใน
 โรงพิมพ์ เป็นต้น 
4. เหตุที่ช่วยให้มีการประสานงานโดยสมัครใจ (Aids to 
Voluntary Coordination) 
 การประสานงานส่วนมากมักจะเกิดขึ้นจากการร่วมมือโดย
สมัครใจของบุคลากรในศูนย์ทรัพยากรการเรียนรู
5. ประสานงานโดยวิธีควบคุม (Coordination through 
Supervision) 
 หัวหน้างานมีหน้าที่จะต้องคอยเฝ้าดูการด าเนินปฏิบัติงานต่าง ๆ 
เพื่อให้การด าเนินงานเป็นไปอย่างสอดคล้องและจะต้องใช้วิธีประเมินผล
การปฏิบัติงานทุกระยะจะได้ทราบข้อบกพร่องหาทางแก้ไขให้การ
ปฏิบัติงานถูกต้องยิ่งขึ้น
/////////////////////////////////////
2. เทคนิคการประสานงาน (Techniques 
Coordination) มีอะไรบ้าง
ความส าคัญของการประสานงาน 
1. การประสานงานเป็นกระบวนการในการบริหาร 
2. การประสานงานเป็นระเบียบธรรมเนียมในการ
บริหารงาน 
3. การประสานงานเป็นหน้าที่ของนักบริหารหรือ
หัวหน้างาน 
ประเภทของการประสานงาน 
 (Types of Coordination)
ประเภทของการประสานงานแบ่งได้เป็น 2 แบบใหญ่ ๆ ด้วยกันคือ 
1. การประสานงานภายในองค์การและภายนอกองค์การ การประสานงานภายใน
องค์การ หมายถึง การประสานงานภายในหน่วยงานหรือองค์การนั้น ๆ ส่วนการ
ประสานงานภายนอกองค์การเป็นการประสานงานระหว่างหน่วยงานหรือการ
ติดต่อกับบุคลลภายนอกต่าง ๆ 
2. การประสานงานในแนวดิ่ง และการประสานงานในแนวราบ การประสานงาน
ในแนวดิ่ง หมายถึง การประสานงานจากผู้บังคับบัญชามาสู่ผู้ใต้บังคับบัญชา 
(Top down) และการประสานงานจากผู้ใต้บังคับบัญชาไปยัง
ผู้บังคับบัญชา (Bottom up) ส่วนการประสานงานในแนวราบ หมายถึง การ
ประสานงานในระดับเดียวกัน 
เทคนิคการประสานงาน (Techniques Coordination) 
1. จัดให้มีระบบการติดต่อสื่อสารทั้งภายในหน่วยงานและภายนอก
หน่วยงานอย่างมีประสิทธิภาพ 
2. การก าหนดอ านาจหน้าที่และต าแหน่งงานอย่างชัดเจน 
3. การสั่งการและการมอบหมายอ านาจหน้าที่และความรับผิดชอบ 
4. การใช้คณะกรรมการหรือเจ้าหน้าที่ที่ท าหน้าที่ประสานงานโดยเฉพาะ
การประสานงานภายในองค์การ 
5. การจัดให้มีการประสานงานระหว่างพนักงานในองค์การ 
6. การจัดให้มีการฝึกอบรมและพัฒนาผู้ใต้บังคับบัญชา 
7. การติดตามผล
////////////////////
 3. จงอธิบายอุปสรรคของการประสานงาน มาพอเข้าใจ
อุปสรรคของการประสานงาน 
1. การขาดความเข้าใจอันดีต่อกันระหว่างผู้ปฏิบัติงานด้วยกันจะกลาย
เป็นสาเหตุท าให้การติดต่อประสานงานที่ควรด าเนินไปด้วยดี ไม่สามารถ
กระท าได้ 
2. การขาดผู้บังคับบัญชาหรือผู้บริหารที่มีความสามารถ 
3. การปฏิบัติงานไม่มีแผน ซึ่งเป็นการยากที่จะให้บุคคลอื่น ๆ ทราบ
วัตถุประสงค์และวิธีการในการท างาน 
4. การก้าวก่ายหน้าที่การงาน 
5. การขาดการติดต่อสื่อสารที่ดีย่อมท าให้การท างานเป็นระบบที่
ดีของความร่วมมือขาดความเข้าใจซึ่งกันและกัน 
6. การขาดการนิเทศงานที่ดี 
7. ความแตกต่างกันในสภาพและสิ่งแวดล้อม 
8. การด าเนินนโยบายต่างกันเป็นอุปสรรคต่อการประสานงาน 
9. ประสิทธิภาพของหน่วยงานต่างกันจะเป็นการยากที่จะก่อให้เกิดมี
ความร่วมมือและประสานงานกันเพราะแสดงว่ามีฝีมือคนละชั้น 
10. การท าหน้าที่ความรับผิดชอบและอ านาจไม่ชัดแจ้งท าให้
ผู้ปฏิบัติงานเกิดความกังวลใจและอาจไปก้าวก่ายงานของบุคคลอื่นก็ได้ 
11. ระยะทางติดต่อห่างไกลกัน 
12. เทคนิคและวิธีการปฏิบัติงานในแต่ละหน่วยงานแตกต่างกัน
เนื่องมาจากการกุมอ านาจหรือการกระจายอ านาจมากเกินไป

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น